กฟผ. นำทางสู่พลังงานอย่างยั่งยืนด้วยพลังงานหมุนเวียนและการลดการปล่อยคาร์บอนในระบบการผลิตกระแสไฟฟ้าและพลังงาน

Green Share!

กฟผ. จะร่วมนำเสนอความก้าวหน้าในระบบการกักเก็บคาร์บอน เทคโนโลยีจากพลังงานไฮโดรเจน และแหล่งพลังงานหมุนเวียนอื่น ๆ โดยกลยุทธ์เชิงนวัตกรรม ‘Triple S’ – Source Transformation, Sink Co-creation, และ Support Measure Mechanism  ภายในงาน SETA- Sustainable Energy Technology Asia และ Solar + Storage Asia ประจำปี 2023

ในการรวมตัวครั้งสำคัญของการจัดงานระดับชั้นผู้นำด้านพลังงานของเอเชียในครั้งนี้ของ SETA2023 และ Solar + Storage Asia 2023 จะขอเชิญท่านได้ทำความรู้จักกับคุณประเสริฐศักดิ์ เชิงชวโน  รองผู้ว่าการยุทธศาสตร์ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) เพื่อให้เห็นภาพที่ชัดเจนยิ่งขึ้น ถึงบทบาท หน้าที่ และทิศทางกลยุทธ์ของ กฟฝ. อันถือเป็นองค์กรชั้นนำของวงการพพลังงานของประเทศ โดยเฉพาะกลยุทธ์หลักในการนำมาใช้ซึ่งพลังงานหมุนเวียนและการลดการปล่อยคาร์บอน

กฟผ. ถือเป็นหัวใจหลักของอุตสาหกรรมพลังงานในประเทศไทย และมุ่งเป้าหมายในการนำพลังงานเข้าสู่สังคมสีเขียว โดยเน้นความเข้าใจในเรื่องของคาร์บอน ความสามารถในการตัดสินใจ และการดำเนินการเพื่อลดอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม ในปัจจุบัน พันธกิจของกฟผ. ถูกต้องตามกลยุทธ์ ‘Triple S’ อย่างมั่นใจ – Source Transformation, Sink Co-creation และ Support Measure Mechanism

เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านพลังงานและส่งเสริมความสามารถในการนำไปใช้ในการเปลี่ยนแปลงของกฟผ. กลยุทธ์หลักคือ Source Transformation ในการเปลี่ยนแปลงพลังงานของประเทศไทยจากเชื้อเพลิงฟอสซิลไปสู่แหล่งพลังงานหมุนเวียน เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ ลม และชีวมวล เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงในพลังงานหมุนเวียนก็ต้องมีความสามารถในการปรับสมดุลความผันผวนของการผลิตพลังงานหมุนเวียน

อย่างไรก็ตาม การเดินทางเข้าสู่การใช้งานพลังงานหมุนเวียนในสัดส่วนที่มากขึ้นก็เป็นความท้าทายที่กฟผ. ถึงประสิทธิภาพการและความที่น่าเชื่อถือให้กับประเทศ โดยมีการนำมาใช้ระบบกริดอัจฉริยะและความสามารถในการปรับสมดุลความผันผวนของการผลิตพลังงานหมุนเวียน ตามกลยุทธ์ Sink Co-creation คือ การเพิ่มปริมาณการดูดซับกักเก็บคาร์บอน.

 นอกจากนี้กฟผ. ยังมีนโยบายฉลากประหยัดไฟ และฉลากสินค้าเขียวเพื่อเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียน เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้ประสิทธิภาพของทรัพยากรที่มีจำกัดได้มากขึ้นและสร้างการตระหนักรู้ของพฤติกรรมของผู้บริโภคผ่านกลยุทธ์ Support Measure Mechanism-กลไกการสนับสนุนโครงการชดเชยและหลีกเลี่ยงการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เป็นรูปธรรม

ด้วยโครงสร้างพื้นฐานที่แข็งแกร่งและขยายงานออกไปอย่างกว้างของ กฟผ.ที่ผ่านมา ในการวางแผนกลยุทธ์อย่างลงตัวกับแผนพลังงานแห่งชาติ ในการยืนยันและมุ่งมั่นเพื่อสร้างอนาคตที่เขียวขจีของประเทศ ซึ่งประกอบด้วยโครงการนำแผนพลังงานใหม่ ๆ อย่างเช่น การใช้พลังงานแสงอาทิตย์บนหลังคา โซลาร์ฟาร์ม โซลาร์ลอยน้ำ การจัดเก็บคาร์บอน (CCUS) โครงสร้างสถานีชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าและการใช้พลังงานไฮโดรเจน ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานที่มีศักยภาพที่ดีในการให้พลังงานสะอาด เพื่อเป็นทางเลือกใหม่ๆ เพื่อมุ่งในการผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน

มองไปข้างหน้า ดร. ประเสริฐศักดิ์ ยังให้เน้นถึงความมุ่งมั่น และการตอกน้ำถึงการลดการปล่อยคาร์บอนว่า

เป็นเป้าหมายที่ไม่สามารถต่อรองได้ แต่มีไว้เพื่อพุ่งชน ดังนั้นกฟผ. จึงมั่นใจถึงเป้าหมายในการลดการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ภายในปี พ.ศ.2065   ในการเข้าถึงเป้าหมายเหล่านั้น ล้วนต้องใช้นวัตกรรมและกลยุทธ์อาทิเช่นการปลูกป่าใหม่และนวัตกรรมในการจับ และกักเก็บคาร์บอน

เพื่อเข้าสู่ยุคของพลังงานหมุนเวียนและความยั่งยืน การประชุมระดับผู้นำด้านพลังงาน SETA- Sustainable Energy Technology Asia และ Solar + Storage Asia จึงเป็นแพลตฟอร์มที่สำคัญเพื่อการสร้างความร่วมมือ การสื่อสารถึงบทบาทและหน้าที่ของ กฟผ. ต่อการกำหนดเป้าหมาย อันถือเป็นส่วนสำคัญเพื่อกำหนดอนาคตของวงการพลังงานรของไทย ทั้งในการแสดงผลงานทางด้านนวัตกรรม การสร้างความมุ่งมั่นในการสร้างความเปลี่ยนแปลงเพื่อเปลี่ยนถ่ายการใช้แหล่งกำเนิดพลังงานแบดั้งเดิม และมุ่งสร้างความร่วมมือกับทุกภาคส่วน – ผู้ให้บริการพลังงาน ผู้กำหนดนโยบาย  ผู้บริโภค นักลงทุนและผู้มีส่วนได้เสีย ล้วนมีบทบาทที่สำคัญในการสร้างภูมิทัศน์พลังงานของประเทศไทยและเอเชีย

กฟผ. พร้อมแล้วที่จะเป็นส่วนหนึ่งของงานประชุม SETA 2023 – Executive Asian Energy Leadership Forum ที่รวมผู้นำทางด้านพลังงานและซีอีโอระดับโลกมากกว่า 100 คน และเป็นโอกาสที่สำคัญในการแลกเปลี่ยนความรู้ วิสัยทัศน์และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และร่วมขยายเครือข่ายธุรกิจ ในกิจกรรม Business Matching พร้อมกับการจัดงานคู่ขนานกับ Thailand-Korea Energy Week ที่มีผู้เข้าร่วมมากกว่า 1,000 คน ที่รับการสนับสนุนจากกระทรวงพลังงาน กระทรวงคมนาคม กระทรวงอุดมศึกษา กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงเศรษฐกิจ การค้าและอุตสาหกรรมญี่ปุ่น

งานประชุม SETA 2023 ประกอบด้วย CEO Energy Forum, Hydrogen, Ammonia, and Downstream Options Forum, Solar + Storage Forum, Advanced Energy Technology & Digital Power Forum, Mobility Forum, และ Circular Economy Forum

เพื่อรับชมไฮไลท์ภายในงานประชุม SETA 2023 และติดตามข้อมูลเพิ่มเติมสามารถตรวจสอบได้ที่เว็บไซต์ของ SETA (https://setaasia.com/) และเพจโซเชียลมีเดียต่าง ๆ ของงาน หากท่านสนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมหรือต้องการให้ความช่วยเหลือ ท่านสามารถติดต่อสอบถามทีมงานได้ที่เบอร์โทรศัพท์ 0635026988, 0634903388 หรืออีเมล INFO@gat.co.th


Green Share!

Comments

No comments yet. Why don’t you start the discussion?

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *