มิถุนายน เดือนแห่งความหลากหลายทางเพศ เดือนของวันสิ่งแวดล้อมโลกและวันทะเลโลก

มิถุนายน เดือนแห่งความหลากหลายทางเพศ เดือนของวันสิ่งแวดล้อมโลกและวันทะเลโลก

เรียบเรียงโดย ดร.วิจารย์ สิมาฉายา ผู้อำนวยการสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย หรือ TEI เดือนมิถุนายน ไม่ได้เป็นเพียงแค่กลางปีเท่านั้น แต่ยังเป็นเดือนที่เต็มไปด้วยความหมายอันทรงพลัง เป็นทั้ง "เดือนแห่งความหลากหลายทางเพศ" (Pride Month) ที่สะท้อนการเคารพในศักดิ์ศรีและสิทธิมนุษยชนของทุกคน และเดือนนี้ไม่ได้เป็นเพียงเดือนที่เราเคารพในศักดิ์ศรีและสิทธิมนุษยชนเท่านั้น แต่ยังเป็นเดือนที่ทั่วโลกต้องเครพ ให้เกียรติและให้ความสำคัญกับ “ธรรมชาติ” เช่นกันเพราะเดือนนี้มีวันสำคัญอย่าง "วันสิ่งแวดล้อมโลก"…
ขยะเกาะ ขยะหาด กับความสำคัญวันมหาสมุทรโลก: ประเภทขยะบนเกาะ พบและจัดการต่อได้อย่างไร

ขยะเกาะ ขยะหาด กับความสำคัญวันมหาสมุทรโลก: ประเภทขยะบนเกาะ พบและจัดการต่อได้อย่างไร

รวบรวมข้อมูลและเรียบเรียงโดย คุณวิลาวรรณ น้อยภา ผู้อำนวยการฝ่ายทรัพยากรธรรมชาติ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ขยะพลาสติกพบมากสุด ย่อยสลายยาก ได้แก่ ขวดน้ำ (พลาสติก PET) ถุงพลาสติก กล่องโฟม อวน/เชือก  ขยะอินทรีย์ พวกเศษอาหาร เปลือกผลไม้ ใบไม้ ส่วนนี้ทำปุ๋ยได้ แต่ต้องจัดการให้ดี…
“Beat the Plastic Waste – การต่อสู้กับขยะพลาสติก เพื่อโลกที่ยั่งยืน”

“Beat the Plastic Waste – การต่อสู้กับขยะพลาสติก เพื่อโลกที่ยั่งยืน”

เรียบเรียงโดย คุณวิศรา หุ่นธานี ผู้อำนวยการฝ่ายมลพิษ พลังงาน และสิ่งแวดล้อม วันที่ 5 มิถุนายนของทุกปี คือวันสิ่งแวดล้อมโลก (World Environment Day) วันที่ชาวโลกได้ร่วมกันตระหนักถึงความสำคัญของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งปี 2025 นี้ องค์การสหประชาชาติได้กำหนดหัวข้อ “Beat the…
ยกระดับซาเล้งและร้านรับซื้อของเก่าสู่การสร้างระบบนิเวศเศรษฐกิจหมุนเวียน

ยกระดับซาเล้งและร้านรับซื้อของเก่าสู่การสร้างระบบนิเวศเศรษฐกิจหมุนเวียน

เรียบเรียงโดย ดร.วิจารย์ สิมาฉายา ผู้อำนวยการสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย หรือ TEI คุณรู้หรือไม่ว่า? ปัจจุบันปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญทั้งในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับโลกคือ “ปัญหาขยะ” โดยในประเทศไทยมีขยะมูลฝอยชุมชนประมาณปีละ 28 ล้านตัน และเมื่อจำนวนขยะที่มหาศาลหากไม่มีระบบจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพเพียงพอก็จะทำให้มีขยะหลุดรอดออกมาสู่สิ่งแวดล้อม และนั้นคือหายนะที่จะส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศบนบกและระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง รวมถึง ห่วงโซ่อาหารและชีวิตมนุษย์ ในมุมมองของผมที่ทำงานด้านสิ่งแวดล้อมมาเกินครึ่งชีวิต มองว่า…
20 พฤษภาคม “วันผึ้งโลก” ผู้ช่วยเหลือเงียบของโลก

20 พฤษภาคม “วันผึ้งโลก” ผู้ช่วยเหลือเงียบของโลก

เรียบเรียงโดย: วิมลศิริ สิงหะ ผู้ช่วยนักวิจัย สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ทุกวันที่ 20 พฤษภาคมของทุกปี ทั่วโลกจะร่วมกันเฉลิมฉลอง “วันผึ้งโลก” (World Bee Day) เพื่อยกย่องบทบาทสำคัญของผึ้งและแมลงผสมเกสรชนิดอื่น ๆ ที่มีต่อระบบนิเวศ ความมั่นคงทางอาหาร และความหลากหลายทางชีวภาพ องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO)…
TEI ร่วมยกระดับซาเล้งและร้านรับซื้อของเก่าสร้างระบบนิเวศเศรษฐกิจหมุนเวียน

TEI ร่วมยกระดับซาเล้งและร้านรับซื้อของเก่าสร้างระบบนิเวศเศรษฐกิจหมุนเวียน

เรียบเรียงโดย ดร.วิจารย์ สิมาฉายา ผู้อำนวยการสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย หรือ TEI สืบเนื่องจาก ปัญหาขยะถือว่าเป็นหนึ่งในสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่สำคัญ ทั้งในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับโลกในปัจจุบัน หากไม่มีระบบจัดการขยะที่เพียงพอและไม่มีประสิทธิภาพจะทำให้มีขยะหลุดรอดออกสู่สิ่งแวดล้อมซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศบนบกและ ระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง รวมถึง ห่วงโซ่อาหารและชีวิตมนุษย์ ดร.วิจารย์ สิมาฉายา ผู้อำนวยการสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย หรือ TEI…
ภัยคุกคาม ปลาหมอคางดำ บทเรียนผลกระทบระบบนิเวศวิกฤตที่ต้องหาทางแก้ เพื่อการฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ

ภัยคุกคาม ปลาหมอคางดำ บทเรียนผลกระทบระบบนิเวศวิกฤตที่ต้องหาทางแก้ เพื่อการฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ

จากกรณีกลุ่มเกษตรกรได้รับผลกระทบจากการระบาดของปลาหมอคางดำ ที่ก่อให้เกิดความเสียหายกับระบบนิเวศ และผลกระทบกับสัตว์น้ำอื่น ๆ อีกทั้งยังกระทบต่อการประกอบอาชีพประมงและเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ จึงได้มีการยื่นฟ้องร้องต่อศาลเพื่อเรียกร้องความเป็นธรรม สำหรับปลาหมอคางดำ ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศและเกษตรกรไทยอย่างรุนแรง โดยเป็นปลาน้ำจืดต่างถิ่นที่มีถิ่นกำเนิดในทวีปแอฟริกา แต่ปัจจุบันได้แพร่ระบาดอย่างกว้างขวางในแหล่งน้ำของประเทศไทย และเนื่องจากเป็นปลาที่สามารถอาศัยอยู่ได้ทั้งในน้ำจืด น้ำกร่อยและน้ำเค็ม จึงมีอัตราในการแพร่พันธุ์อย่างรวดเร็ว อีกทั้งเป็นสัตว์ที่กินอาหารหลากหลายชนิด ทั้งแพลงก์ตอนและสัตว์น้ำ ความอันตรายของปลาหมอคางดำนี้เปรียบเป็น เอเลี่ยนสปีชีส์ ที่ทำลายระบบนิเวศจนสัตว์พื้นถิ่นลดลงอย่างมีนัยสำคัญ อีกหนึ่งความร้ายแรงของปลาหมอคางดำ สัตว์ที่ทิ่มแทงใจของเกษตร…
Fast Fashion อุตสาหกรรมเสื้อผ้าที่กระทบโลก ผลิตไว ทิ้งขยะไว้นาน ทำลายธรรมชาติ

Fast Fashion อุตสาหกรรมเสื้อผ้าที่กระทบโลก ผลิตไว ทิ้งขยะไว้นาน ทำลายธรรมชาติ

เรียบเรียงโดย ดร.วิจารย์ สิมาฉายา ผู้อำนวยการสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย หรือ TEI Fast Fashion ความหมายที่แปลได้อย่างตรงตัว โดยเป็นการผลิตเสื้อผ้าเปลี่ยนแปลงไวตามแฟชั่นในปริมาณมากและรวดเร็วเพื่อให้ทันกับกระแสนิยม เมื่อหลายแบรนด์แฟชั่นผลิตเสื้อผ้าใหม่ทุกสัปดาห์หรือทุกเดือน ทำให้ผู้บริโภคสามารถซื้อเสื้อผ้าใหม่ได้บ่อยขึ้นในราคาที่ไม่แพง จึงอาจจะเป็น 1 ในปัจจัยที่ทำให้สามารถเปลี่ยนเสื้อผ้าใหม่ที่ง่ายขึ้น ความสวยงามของแฟชั่นที่ผลิตออกมา เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจ การจ้างงานให้สายการผลิต แต่ในขณะเดียวกันกลับเป็นการสร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในหลายมิติ ทั้งขยะจากเสื้อผ้าจำนวนมหาศาล…
ประเทศไทยอุณหภูมิอาจะแตะ 35-37 องศาเซลเซียส พร้อมแนะทุกภาคส่วนต้องร่วมมือปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ประเทศไทยอุณหภูมิอาจะแตะ 35-37 องศาเซลเซียส พร้อมแนะทุกภาคส่วนต้องร่วมมือปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

เรียบเรียงโดย ดร.วิจารย์ สิมาฉายา ผู้อำนวยการสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย หรือ TEI เริ่มต้นปี เรื่องของสิ่งแวดล้อมก็ร้อนระอุหลายเรื่อง ทั้งเรื่องมลพิษทางอากาศฝุ่นPM2.5 ที่ในปีนี้เกินค่ามาตรฐานที่กำหนดไว้ไปมากโดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานครและภาคเหนือ และเรื่องของไฟป่าที่เขาใหญ่ก็เป็นอีกหนึ่งเรื่องที่กระทบกับวงการสิ่งแวดล้อม ดังนั้นหากถามว่าสิ่งแวดล้อมในปี 2568 และอนาคตจะไปในทิศทางไหนอะไรที่เราต้องเฝ้าจับตาเป็นพิเศษ ในปีที่ผ่านมา (2567) ทั่วโลกและประเทศไทยต้องเผชิญกับปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีทั้งปัญหาเก่าสะสม ไม่ว่าจะเป็นปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) ที่เกิดขึ้นในช่วงต้นปีทุกๆปีในพื้นที่กรุงเทพมหานครและภาคเหนือ…
TEI ชวนจับตา PM2.5 ในปี 2568 พร้อมเสนอแนวทางลดการปล่อยที่แหล่งกำเนิด ย้ำความร่วมมือคือทางออกแก้ไขปัญหา

TEI ชวนจับตา PM2.5 ในปี 2568 พร้อมเสนอแนวทางลดการปล่อยที่แหล่งกำเนิด ย้ำความร่วมมือคือทางออกแก้ไขปัญหา

เรียบเรียงโดย ดร.วิจารย์ สิมาฉายา ผู้อำนวยการสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย หรือ TEI แม้ในช่วงสัปดาห์แรกของการเริ่มต้นทำงานศักราชใหม่ สภาพอากาศจะเย็นสบาย มีลมพัดพลิ้วไหวถูกใจใครหลายๆคนในการเริ่มต้นปีใหม่ แต่ขณะเดียวกันอากาศที่เย็นสบายก็มาพร้อมกับฝุ่นละอองขนาดจิ๋ว (PM2.5) เกินค่ามาตรฐานที่ปกคลุมไปทั่วกรุงเทพมหานคร จนทำให้หลายคนรู้สึกไม่สบายตัวและมีผลกระทบต่อสุขภาพ ดังนั้นหากถามว่าในปี 2568 สถานการณ์PM2.5 จะน่ากลัวแค่ไหน สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย หรือ TEI…
TEI เปิดข้อเสนอแนะกระบวนการหนุนเสริม “ภาคประชาสังคม” เพื่อเตรียมความพร้อมของชุมชนและเมืองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

TEI เปิดข้อเสนอแนะกระบวนการหนุนเสริม “ภาคประชาสังคม” เพื่อเตรียมความพร้อมของชุมชนและเมืองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

บทความโดย อนุสรา โพธิ์ศรี สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ความเป็นเมืองที่เกิดจากการเติบโตทางเศรษฐกิจแบบก้าวกระโดดและการพัฒนาที่ขาดการบริหารจัดการและการวางแผนเตรียมความพร้อมที่เหมาะสม ไม่คำนึงถึงฐานสิทธิมนุษยชน และเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ผนวกกับปัจจัยด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่คาดการณ์ได้ยาก ส่งผลให้การบริหารจัดการเมืองมีความยากและสลับซับซ้อน ซ้ำเติมปัญหาต่างๆ ให้รุนแรงและยิ่งส่งผลกระทบต่อผู้คนที่อยู่อาศัยในเมืองในระดับที่แตกต่างกัน จากข้อจำกัดด้านทุน การเข้าถึงสิทธิ และเงื่อนไขต่างๆ ในชีวิต การเตรียมความพร้อมของชุมชนและเมืองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จึงเป็นเรื่องเร่งด่วนที่ทุกภาคส่วนต้องให้ความสำคัญและร่วมมือในการวางแผนเพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถในการปรับตัวในระดับชุมชนและเมือง เพิ่มศักยภาพในการจัดการความเสี่ยงและผลกระทบจากภัยพิบัติ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ยั่งยืน…
8 มิถุนายน วันทะเลโลก (World Ocean Day) … โลกเดือด ทะเลร้อน นักวิชาการ TEI ชี้เร่งรีบแก้ไขปัญหาเดิม เตรียมพร้อมรองรับกับปัญหาใหม่

8 มิถุนายน วันทะเลโลก (World Ocean Day) … โลกเดือด ทะเลร้อน นักวิชาการ TEI ชี้เร่งรีบแก้ไขปัญหาเดิม เตรียมพร้อมรองรับกับปัญหาใหม่

เรียบเรียงโดย: ดร. วิจารย์ สิมาฉายา ผู้อำนวยการสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย วันทะเลโลก หรือวันมหาสมุทรโลก (World Ocean Day) เกิดขึ้นในปี พ.ศ.2535 โดยความร่วมมือของกลุ่มประชาคมโลก ในการประชุมสุดยอดด้านสิ่งแวดล้อม (The Earth Summit) ที่เมืองริโอ เดอ จาเนโร…