เราจะเดินตามรอยพ่อ  “การฟื้นฟูสภาพป่าและการปลูกป่า“

เราจะเดินตามรอยพ่อ “การฟื้นฟูสภาพป่าและการปลูกป่า“

ด้วยน้ำพระทัยและปณิธานอันแน่วแน่ของ สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่จะสร้างสุข ให้กับประชาชนให้อยู่ดี กินดี มีอาชีพ ด้วยทรัพยากรที่ประเทศเรามีอยู่ให้รู้จักการใช้อย่างพอดี อย่างเหมาะ สม พอเพียงให้รู้จักการพึ่งพากันทุกสรรพสิ่ง เช่นเดียวกับป่าไม้ ป่าไม้คือปัจจัย 4 ของมนุษย์ พระองค์จึง มีพระปณิธานที่จะเป็นป่า ทรงพระราชทานแนวพระราชดำริเป็นแนวคิดและวิธีการเพื่อให้คนอยู่กับป่าได้ ดังนี้ ๑. การฟื้นฟูป่าตามหลักธรรมชาติ…
เราจะเดินตามรอยพ่อ  “ แนวพระราชดำริการอนุรักษ์ ป่า น้ำ ดิน “

เราจะเดินตามรอยพ่อ “ แนวพระราชดำริการอนุรักษ์ ป่า น้ำ ดิน “

ตลอดระยะเวลาแห่งการครองราชสิริราชสมบัติ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช มหาราช พระองค์ทรงตั้งปณิธานเพื่อให้พสกนิกรมีความสุขจากการประกอบอาชีพ ให้มีการกินดีอยู่ดี มีงานทำ สุขภาพแข็งแรง โดยประกาศต่อสู้กับสงครามความยากจน ความอดอยาก ด้วยการแก้ปัญหาที่เกิดด้วยการทดลองศึกษาค้นคว้าด้วยวิธีการต่างๆ จัดตั้งเป็นโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริในปัจจุบัน พระองค์ทรงวิเคราะห์วิจัยปัญหาส่วนใหญ่ที่เกิดจากความต้องการของมนุษย์ที่ขาดความพอเพียงหรือพอดี จึงทำให้มีผลกระทบต่อสภาพเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ทั้งในทางตรงและทางอ้อม หากไม่เริ่มดำเนินการตั้งแต่บัดนี้ ปัญหาเหล่านี้ก็จะลุกลามใหญ่โตจนเกินความควบคุมของมนุษย์ได้ หากต้องใช้ขบวนการคิดและลงมือปฎิบัติอย่างรอบครอบ…
เราจะเดินตามรอยพ่อ  “ พระบิดาแห่งการจัดการทรัพยากรน้ำ “

เราจะเดินตามรอยพ่อ “ พระบิดาแห่งการจัดการทรัพยากรน้ำ “

ตลอดพระชนม์ชีพแห่งการครองราชย์ ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระปรินทรมหาภูมิพลอดุยเดช มหาราช ทรงมีโครงการพระราชดำริ ที่เกี่ยวกับ ป่า ดิน และแหล่งน้ำ ซึ่งทรงวางแผนอย่างเป็นระบบ ยากที่จะมีใครเข้าใจ และวางระบบได้ เช่นเดียวกับพระองค์ ดังที่แสดงไว้อย่างชัดเจนในกระแส พระราช ดำรัสที่พระราชทานเนื่องในพิธีเปิดการประชุมวิชาการนานาชาติ “ The Third Princess…
เราจะเดินตามรอยพ่อ ด้วยน้ำพระทัยของในหลวงรัชกาลที่ ๙

เราจะเดินตามรอยพ่อ ด้วยน้ำพระทัยของในหลวงรัชกาลที่ ๙

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ ทรงช่วยเหลือประชาชนของพระองค์ให้พ้นวิกฤตจากน้ำท่วมในฤดูน้ำหลาก ช่วยการขาดแคลนน้ำ หลังน้ำลดเพื่อให้มีน้ำใช้สำหรับการเกษตรโดยจัดทำแก้มลิงขึ้นโดยเฉพาะ ในพื้นที่ลุ่มทุ่งมะขามหย่อง ใครจะรู้ได้ว่านี่คือ ยุทธหัตถีต่อสู้กับความยากจน ต่อสู้กับเศรษฐกิจที่ผูกมัดชีวิตคนไทยอยู่ตลอดเวลา จากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ในเรื่องของเศรษฐกิจพอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ จึงได้ใช้ทุ่งมะขามหย่องเป็นแปลงทดลองและสาธิตให้ประชาชนและรัฐบาล หน่วยงานที่ได้ข้องเกี่ยวได้เข้าไปศึกษาและพัฒนาร่วมกัน เพื่อจักได้รู้จักถือหน้าที่ๆต้องทำและลงมือปฏิบัติด้วยตนเองจักได้แก้ปัญหาได้ถูกและจักได้รู้ว่าสิ่งที่ทำนี้เป็นประโยชน์ เป็นคุณอนันต์ หรือโทษเช่นใด จักแก้ไขได้ถูกต้อง…
ด้วยน้ำพระทัยของในหลวงรัชกาลที่ ๙

ด้วยน้ำพระทัยของในหลวงรัชกาลที่ ๙

ด้วยน้ำพระทัยของในหลวงรัชกาลที่ ๙ แก้ปัญหาน้ำท่วมฤดูน้ำหลากและภัยแล้งพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา โดยใช้พื้นที่ส่วนพระองค์ “ทุ่งมะขามหย่อง” ดินแดนยุทธหัตถีของวีรสตรีไทย สมเด็จพระศรีสุริโยทัย เป็นแก้มลิง พักน้ำเหนือหลาก แก้ภัยแล้ง เมื่อน้ำลดนับเป็นพระมหากรุณาธิคุณแก่ชาวบ้านจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นอย่างมาก... เป็นโครงการแก้ปัญหาน้ำท่วมโครงการหนึ่ง และได้พระราชทานพระราชดำริให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกันดำเนินการแก้ไขป้องกันหรือช่วยบรรเทาปัญหา จากการไหลบ่าของน้ำท่วมพื้นที่การเกษตร โดยหาทางกักเก็บน้ำไว้ให้เป็นประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ดังพระราชดำรัส เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๓…
เราจะเดินตามรอยพ่อ “การจัดการแหล่งน้ำผิวดิน”

เราจะเดินตามรอยพ่อ “การจัดการแหล่งน้ำผิวดิน”

โดยเหตุที่ในปี พ.ศ.๒๕๓๖ เกิดภาวะฝนแล้ง จึงมีการทำ “ฝนหลวง” ตั้งแต่วันที่ ๑๘ สิงหาคม ถึง๒ พฤศจิกายน เพื่อเพิ่มปริมาณน้ำนเขื่อนให้มากพอสำหรับการเพาะปลูก การผลิตกระแสไฟฟ้า และ ฟลักดันน้ำเค็มที่รุกล้ำจากอ่าวไทย จึงกล่าวได้ว่า “ฝนหลวง” มิได้มีบทบาทเฉพาะการการเกษตรเท่านั้น แต่ยังมีบทบาทแก้ไขภัยแล้งอีกด้วย เมื่อมีน้ำฝนไหลจากพื้นที่สูงในภูเขาลงสู่ที่ต่ำในพื้นล่าง ก็ต้องมีการบริการจัดการน้ำ…